หน้าเว็บhttps://sites.google.com/a/damrong.ac.th/si-to-khi-nin/home

วันศุกร์ที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2558

คำถามหลังเรียน ไซโตไคนิน (Cytokinins)


คำถามหลังเรียน

1. ไซโตไคนินพบมากที่บริเวณใด
1. ราก
2. ใบ
3.ลำต้น

4.ผล

2. ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของไซโตไคนิน
1.กระตุ้นการแบ่งเซลล์
2.นำมาใช้เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
3.เพิ่มอัตราการวอกของเมล็ด

4.กระตุ้นการเกิดตาข้าง

3. การสร้างใบขึ้นมาใหม่เกี่ยวข้องกับฮอร์โมนชนิดใด
1. ออกซิน
2. เอทิลีน
3. เอสโตรเจรน
4 .ไซโตไคนิน

4. โดยน้ำตาลกลูโคสจะไปเกาะกับตำแหน่งที่เท่าไหร และอะดีนีนเกิดเป็นอะไร
1. โดยน้ำตาลกลูโคสจะไปเกาะกับตำแหน่งที่  4  ของอะดีนีนเกิดเป็น 4-กลูโคซีลไซโตไคนิน (4-glucosylcyto- kinins)
2. โดยน้ำตาลกลูโคสจะไปเกาะกับตำแหน่งที่  9  ของอะดีนีนเกิดเป็น 9-กลูโคซีลไซโตไคนิน (9-glucosylcyto- kinins)
3. โดยน้ำตาลกลูโคสจะไปเกาะกับตำแหน่งที่  5  ของอะดีนีนเกิดเป็น 5-กลูโคซีลไซโตไคนิน (5-glucosylcyto- kinins)
4. โดยน้ำตาลกลูโคสจะไปเกาะกับตำแหน่งที่  7  ของอะดีนีนเกิดเป็น 7-กลูโคซีลไซโตไคนิน (7-glucosylcyto- kinins)

5.คุณสมบัติเหมือนไคเนตินนั้น เรียกโดยทั่วๆ ไปว่าอะไร
1.ไซโตไคนิน
2.จิบเบอร์ลิลิน
3.ออกซิน
4.ข้อ1 รวมกับ ข้อ2

6.ไซโตไคนินมีหน้าที่สำคัญคือ
ก.ดูดน้ำ
ข.การควบคุม การแบ่งเซลล์ การขยายตัวและการเปลี่ยนแปลงของเซลล์พืช
ค.สังเคราะเซลล์
ง.ถูกทุกข้อ

7.การแยกไซโตไคนินชนิดหนึ่งจากเมล็ดข้าวโพดหวาน และพบว่า เป็นสาร    6-(4-hydroxy-3-methyl but-2-enyl) aminopurine  ซึ่ง Letham ได้ตั้งชื่อว่า ซีเอติน (Zeatin)ในปีไหน
1.ในปี 1901
2.ในปี 1964
3.ในปี 2001
4.ในปี 2015

8..การกระตุ้นให้เกิดการแบ่งเซลล์และการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพใน   tissue culture   โดยต้องใช้ร่วมกับอะไร
1. โดยต้องใช้ร่วมกับ Chloroplast
2. โดยต้องใช้ร่วมกับ Cell
3. โดยต้องใช้ร่วมกับ Auxin 
4. โดยต้องใช้ร่วมกับ Glucose

9.ไม่มีการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพเกิดขึ้นของ pith  จากยาสูบและรากของแครอท  จากผลการทดลองนี้ทำให้รู้จักไซโตไคนินในระยะปี
1. ค.ศ. 1969
2. ค.ศ. 2050
3. ค.ศ. 1950
4. ค.ศ. 1680

10.ไซโตไคนินพบในพืชชนิดใด
1.น้ำมะพร้าว
2.เมล็ดข้าว
3.ถั่วฝักยาว
4.มะเขือเทศ

1 ความคิดเห็น: